Tiger 1 ‘’อสูรร้ายแห่งหน่วยยานเกราะเยอรมัน’’

สวัสดีครับมาพบกันอีกแล้ว วันนี้เราจะมาในเรื่องของยานเกราะเยอรมันสมัยสงครามโลกครั้งที่สองบ้าง ซึ่งสำหรับคันที่ผมจะมาพูดถึงนั้น เชื่อว่าหลายๆคนที่เคยดูหนังหรือเล่นเกมส์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สองน่าจะคุ้นเคยกับมัน เราไปพบกับรถถังที่ได้ฉายาว่า ‘’อสูรร้าย’’ จากทหารฝ่ายสัมพันธมิตรกันครับ ซึ่งนั้นก็คือ Tiger I หรือเจ้าเสือ รถถังหนักของนาซีเยอรมันช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

ในช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่งนั้น หน่วยยานเกราะของนาซีเยอรมันสามารถบุกยึดประเทศต่างๆได้อย่างง่ายดาย จนกระทั้งการบุกรัสเซีย ในช่วงแรกนั้นพวกเยอรมันเจอแต่รถถังเก่าๆตกรุ่นอย่าง BT-5, BT-7, T-26 ซึ่งไม่สามารถรับมือกับรถถังหลักเยอรมันตอนนั้นอย่าง Panzer III, Panzer IV รุ่นลำกล้องสั้นได้ จนกระทั้งเยอรมันได้เจอกับรถถังอย่าง T-34, KV-1, KV-2 ทำให้เยอรมันต้องตกใจอย่างมาก เพราะปืนรถถังที่เคยยิงรถถังรัสเซียก่อนหน้าเข้าอย่างง่ายๆ กลับเด้งเป็นลูกเทนนิสเมื่อยิงใส่ T-34 หรือ KV-1 ซึ่งยิงยังไงก็ไม่เข้า ขนาดลากปืนต่อสู้รถถังขนาด 50 มม มายิงแล้วยังต้องใช้หลายนัดกว่าจะล้มมันได้ สร้างความตกใจให้กับฝ่ายเยอรมันมากๆ ทางฝ่ายเยอรมันต้องเร่งวิจัยรถถังแบบใหม่เพื่อมาต่อกรภัยคุมคามครั้งนี้ โดยมีโจทย์ว่าต้องมีเกราะหนา 100 มม. ขึ้นไป สามารติดปืนใหญ่ต่อสู้รถถังขนาด 88 มม. ได้ ซึ่งทางเฮนเชลกับปอร์เช่ ได้ส่งตัวต้นแบบเข้าประกวด โดยในที่สุดตัวต้นแบบของเฮนเชลได้รับเลือกแม้ว่าไทเกอร์ เป็นที่น่าเกรงขามต่อศัตรูเป็นอย่างมากก็ตาม ทว่า ในขณะเดียวกัน ไทเกอร์ Iเป็นยานเกราะที่มีลักษณะซับซ้อนในการสร้าง ต้นทุนสูง และใช้เวลาในการผลิตยาวนานอีกทั้งไทเกอร์ มักจะประสบปัญหาเครื่องพังบ่อยครั้ง จนเรียกได้ว่ารถถังส่วนมากที่ถูกทำลายนั้น มาจากฝีมือพลประจำรถมากกว่าโดนยิงจากฝ่ายตรงข้าม

รถถังไทเกอร์ออกศึกครั้งแรกในวันที่ 23 กันยายน 1942 นอกเมืองเลเนินกราด ซึ่งเวลานั้นรถถังไทเกอร์ที่ส่งไปมีจำนวนน้อยมากจนแทบไม่เป็นที่รับรู้ของฝ่ายรัสเซีย แต่ทางรัสเซียเองก็เริ่มมีรายงานว่ารถถังของตัวเองถูกทำลายระยะไกลจากรถถังลึกลับของฝ่ายเยอรมัน ส่วนทางอังกฤษและสหรัฐได้เจอกับไทเกอร์ตอนช่วงปี 1943 ที่แอฟริกาเหนือ ซึ่งในช่วงนั้นมันสามารถรับมือรถถังของฝ่ายสัมพันธมิตรและรัสเซียได้ทุกรุ่น


แต่พอปี 1944 ทั้งอเมริกา อังกฤษ และรัสเซียได้ผลิตรถถังรุ่นใหม่ๆที่สามารถรับมือไทเกอร์ได้แล้ว ทั้ง Sherman ‘’Firefly’’, Sherman รุ่นติดปืนยาว 76มม , T-34/85 และรถถังหนักอย่าง IS-2 ของรัสเซียที่ติดปืนใหญ่ขนาด 122 มม ที่สามารถจัดการไทเกอร์ได้ในนัดเดียว แต่รถถังไทเกอร์ก็ยังทำหน้าที่ของมันจนกระทั้งวันสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง ตลอดสงครามมีรถถังไทเกอร์ถูกสร้างเพียง 1,347 คัน และคันที่วิ่งได้ปัจจุบันมีเพียงรถถังไทเกอร์หมายเลข 131 ที่ถูกอังกฤษยึดได้ที่ตูนิเซีย ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ Bovington ประเทศอังกฤษ

462 Comments
  1. Definitely believe that which you stated. Your favorite justification appeared to be on the internet the easiest thing to be aware of. I say to you, I certainly get annoyed while people consider worries that they plainly don’t know about. You managed to hit the nail upon the top as well as defined out the whole thing without having side effect , people can take a signal. Will probably be back to get more. Thanks|

  2. I would like to thank you for the efforts you’ve put in writing this website. I am hoping to see the same high-grade content by you in the future as well. In fact, your creative writing abilities has inspired me to get my own, personal site now ;)|

  3. What i do not realize is in fact how you are now not actually much more smartly-appreciated than you may be now. You are very intelligent. You recognize therefore significantly when it comes to this subject, made me in my opinion believe it from numerous varied angles. Its like men and women don’t seem to be fascinated until it is something to do with Woman gaga! Your personal stuffs nice. Always maintain it up!|

  4. Howdy! This blog post couldn’t be written any better! Looking at this post reminds me of my previous roommate! He always kept preaching about this. I’ll forward this article to him. Fairly certain he’ll have a great read. Many thanks for sharing!|

  5. Thank you, I’ve recently been looking for information approximately this topic for ages and yours is the greatest I’ve found out till now. However, what in regards to the bottom line? Are you positive concerning the source?

Leave a Reply

Your email address will not be published.